“ติดเค็ม” … สะเทือนไต คนวัยทำงาน ลดเกลือ ลดโซเดียม ลดโรค

<p style="text-align:center">&nbsp;</p> <p style="text-align:center"><img alt="" height="702" src="https://knowledgesharing.thaihealth.or.th/userfiles/14/images/image-20240220162714-1.jpeg" width="1053" /></p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p><span style="font-size:11pt"><span style="font-family:Calibri,&quot;sans-serif&quot;"><strong><span style="font-size:14.0pt"><span style="font-family:&quot;TH SarabunPSK&quot;,&quot;sans-serif&quot;">Highlight</span></span></strong></span></span></p> <ul> <li><span style="font-size:11pt"><span style="font-family:Calibri,&quot;sans-serif&quot;"><strong><span dir="ltr" lang="TH" style="font-size:14.0pt"><span style="font-family:&quot;TH SarabunPSK&quot;,&quot;sans-serif&quot;">ผู้ใหญ่วัยทำงานจำนวนมากติดเค็มและบริโภคโซเดียมมากกว่าปริมาณที่แนะนำต่อวัน ซึ่งอาจก่อให้เกิดโรค เช่น โรคหัวใจ หลอดเลือดสมอง ความดันโลหิตสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคไตเรื้อรัง</span></span></strong></span></span></li> <li><span style="font-size:11pt"><span style="font-family:Calibri,&quot;sans-serif&quot;"><strong><span dir="ltr" lang="TH" style="font-size:14.0pt"><span style="font-family:&quot;TH SarabunPSK&quot;,&quot;sans-serif&quot;">จากคำแนะนำขององค์การอนามัยโลก (</span></span></strong><strong><span style="font-size:14.0pt"><span style="font-family:&quot;TH SarabunPSK&quot;,&quot;sans-serif&quot;">WHO) ผู้ใหญ่ควรบริโภคโซเดียมไม่เกิน 2,000 มิลลิกรัมต่อวัน หรือเทียบเท่าเกลือ 1 ช้อนชาหรือ 5 กรัม เฉลี่ยแล้วไม่ควรได้รับโซเดียมเกิน 600 มิลลิกรัมต่อมื้ออาหาร</span></span></strong></span></span></li> <li><span style="font-size:11pt"><span style="font-family:Calibri,&quot;sans-serif&quot;"><strong><span dir="ltr" lang="TH" style="font-size:14.0pt"><span style="font-family:&quot;TH SarabunPSK&quot;,&quot;sans-serif&quot;">โซเดียมไม่ใช่แค่เกลือหรือน้ำปลา อาหารและเครื่องดื่มหลายชนิดมีปริมาณโซเดียมแฝงอยู่</span></span></strong><strong> </strong><strong><span dir="ltr" lang="TH" style="font-size:14.0pt"><span style="font-family:&quot;TH SarabunPSK&quot;,&quot;sans-serif&quot;">เช่น เครื่องดื่มเกลือแร่และน้ำผลไม้ ซึ่งมีโซเดียมแฝงมาในวัตถุเจือปนอาหาร โดยเฉพาะสารกันบูด </span></span></strong></span></span></li> <li><span style="font-size:11pt"><span style="font-family:Calibri,&quot;sans-serif&quot;"><strong><span dir="ltr" lang="TH" style="font-size:14.0pt"><span style="font-family:&quot;TH SarabunPSK&quot;,&quot;sans-serif&quot;">อาหารริมทางหรือสตรีทฟู้ดมากกว่าครึ่งใช้โซเดียมเป็นส่วนประกอบในระดับความเสี่ยงสูงต่อสุขภาพ โดยกับข้าวและอาหารจานเดียวส่วนใหญ่มีโซเดียมเกินกว่า </span></span></strong><strong><span style="font-size:14.0pt"><span style="font-family:&quot;TH SarabunPSK&quot;,&quot;sans-serif&quot;">1,500 มิลลิกรัมต่อถุงหรือกล่อง</span></span></strong></span></span></li> <li><span style="font-size:11pt"><span style="font-family:Calibri,&quot;sans-serif&quot;"><strong><span dir="ltr" lang="TH" style="font-size:14.0pt"><span style="font-family:&quot;TH SarabunPSK&quot;,&quot;sans-serif&quot;">วิธีหลีกเลี่ยงการบริโภคโซเดียมที่ได้ผลคือปรุงอาหารรับประทานเอง ควรเลือกใช้วัตถุดิบสดใหม่ สามารถช่วยคุมปริมาณเกลือในมื้ออาหารได้ ปรุงอาหารด้วยเครื่องปรุงรสต่าง ๆ เท่าที่จำเป็น ไม่เติมผงชูรส ผงปรุงรส หรือซอสต่าง ๆ ควรเลือกซื้ออาหารจากร้านค้าที่มั่นใจว่าที่ไม่ใช้ผงชูรส ผงปรุงแต่งรส หรือซื้อจากร้านอาหารเพื่อสุขภาพ </span></span></strong></span></span></li> </ul> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p><span style="font-size:11pt"><span style="font-family:Calibri,&quot;sans-serif&quot;"><span dir="ltr" lang="TH" style="font-size:14.0pt"><span style="font-family:&quot;TH SarabunPSK&quot;,&quot;sans-serif&quot;">ในหนึ่งวันของชีวิตคนวัยทำงาน อาจจะเริ่มต้นด้วย </span></span><em><span style="font-family:&quot;TH SarabunPSK&quot;,&quot;sans-serif&quot;">&lsquo;</span></em><em><span dir="ltr" lang="TH" style="font-size:14.0pt"><span style="font-family:&quot;TH SarabunPSK&quot;,&quot;sans-serif&quot;">เติมพลังยามเช้าด้วยขนมปังทาเนย ไส้กรอก ไข่ดาวเหยาะซอสปรุงรสแล้วรีบเร่งไปทำงาน มื้อกลางวันรับประทานอาหารจานเดียวง่าย ๆ อย่างเช่นก๋วยเตี๋ยวร้านข้างออฟฟิศที่ต้องปรุงรสด้วยน้ำปลา น้ำตาล น้ำส้ม ฯลฯ ตามความเคยชิน พอถึงช่วงบ่าย เปิดถุงขนมขบเคี้ยวรสเค็มเป็นของว่าง ตกค่ำกลับบ้านทำกับข้าวสูตรเด็ดที่ประกอบด้วยสารพัดซอส และดึกดื่นตื่นมากินบะหมี่สำเร็จรูปอีกสักห่อ </span></span></em><em><span style="font-family:&quot;TH SarabunPSK&quot;,&quot;sans-serif&quot;">&hellip;&rsquo;</span></em> </span></span></p> <p><span style="font-size:11pt"><span style="font-family:Calibri,&quot;sans-serif&quot;"><span dir="ltr" lang="TH" style="font-size:14.0pt"><span style="font-family:&quot;TH SarabunPSK&quot;,&quot;sans-serif&quot;">หลายคนอาจมองว่านี่เป็นเรื่องปรกติที่ใคร ๆ ก็ทำกัน แต่ถ้าฉุกใจลองคิดคำนวณดูอาจพบว่าอาหารที่เราบริโภคในแต่ละวันนั้นมีปริมาณเกลือหรือโซเดียมมากเกินไปแบบไม่ธรรมดา</span></span></span></span></p> <p><span style="font-size:11pt"><span style="font-family:Calibri,&quot;sans-serif&quot;"><span dir="ltr" lang="TH" style="font-size:14.0pt"><span style="font-family:&quot;TH SarabunPSK&quot;,&quot;sans-serif&quot;">ที่ผ่านมามีผลการศึกษาระบุว่า <strong>ผู้ใหญ่วัยทำงานจำนวนมากติดเค็มและบริโภคโซเดียมมากกว่าปริมาณที่แนะนำต่อวัน ซึ่งอาจก่อให้เกิดโรค เช่น โรคหัวใจ หลอดเลือดสมอง ความดันโลหิตสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคไตเรื้อรัง</strong></span></span></span></span></p> <p><span style="font-size:11pt"><span style="font-family:Calibri,&quot;sans-serif&quot;"><span dir="ltr" lang="TH" style="font-size:14.0pt"><span style="font-family:&quot;TH SarabunPSK&quot;,&quot;sans-serif&quot;">เพื่อลดความเสี่ยงโรคเหล่านั้น จึงควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค โดยการ &ldquo;ลดเค็ม&rdquo; แม้เพียงเล็กน้อยอาจสามารถส่งผลให้สุขภาพดีขึ้นอย่างมาก</span></span></span></span></p>

2024-02-20 09:30:35 - Super Admin ID1

โพสต์เพิ่มเติม