เมื่อเข้าใจหัวอกพนักงาน ‘การลาออกครั้งใหญ่’ ก็จะหมดไป
<p><strong><img alt="" height="334" src="https://knowledgesharing.thaihealth.or.th/userfiles/3/images/1710834814.jpg" width="500" />Highlight</strong></p> <p>• Big Quit <span dir="ltr" lang="TH">คือปรากฏการณ์ที่พนักงานจำนวนมากลาออกจากงานโดยสมัครใจ ซึ่งเริ่มมีตั้งแต่ต้นปี</span> 2564 <span dir="ltr" lang="TH">ในสหรัฐอเมริกา</span> <span dir="ltr" lang="TH">สาเหตุเพราะค่าจ้างที่ชะงักงันท่ามกลางค่าครองชีพที่สูงขึ้น</span> <span dir="ltr" lang="TH">หรือไม่ก็เพราะความไม่พอใจต่อหน้าที่การงานที่ทำมาอย่างยาวนาน</span></p> <p>• <span dir="ltr" lang="TH">ผลการสำรวจเรื่อง</span> <span dir="ltr" lang="TH">“</span>Are you Listening?<span dir="ltr" lang="TH">” </span>(<span dir="ltr" lang="TH">นายจ้าง</span> <span dir="ltr" lang="TH">คุณฟังฉันอยู่หรือเปล่า</span>?) <span dir="ltr" lang="TH">ในเดือนกุมภาพันธ์</span> 2565 <span dir="ltr" lang="TH">พบว่า</span> 56%<span dir="ltr" lang="TH"> ของผู้ตอบแบบสอบถามคิดที่จะออกจากงาน</span> <span dir="ltr" lang="TH">เนื่องจากสุขภาพจิตที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดใหญ่</span> <span dir="ltr" lang="TH">และอีกสาเหตุมาจากภาวะหมดไฟ</span></p> <p>• <span dir="ltr" lang="TH">องค์กรต้องปรับตัวและเข้าใจสุขภาพจิตของพนักงานมากขึ้น ตระหนักถึงการทำงานที่ยืดหยุ่น</span> <span dir="ltr" lang="TH">สนับสนุนให้พนักงานลาพักงานได้โดยจ่ายเงิน หรือให้ความสำคัญกับวันหยุดพักร้อนเพื่อลดภาวะหมดไฟ</span></p> <p> </p>
2024-03-19 07:55:37 - Super Admin ID1