พลิกวิกฤตการระบาดโควิด - 19 สู่บริการระบบสุขภาพวิถีใหม่

<p style="text-align:justify"><strong><span style="background-color:white"><img alt="" height="333" src="https://knowledgesharing.thaihealth.or.th/userfiles/3/images/Covid-19/1708418683.jpg" style="float:left" width="500" />Highlight</span></strong></p> <p><strong><span dir="ltr" lang="TH">&bull; บริการทางการแพทย์ที่นำเทคโนโลยีมาปรับใช้เป็นบริการระบบสุขภาพวิถีใหม่ ที่เรียกว่า </span>Telemedicine สามารถช่วยเว้นระยะห่างทางสังคมในการรักษาผู้ป่วยโควิด &ndash; 19 </strong></p> <p><strong><span dir="ltr" lang="TH">&bull; การรักษาด้วยวิธีโทรเวชกรรมสามารถพูดคุยแบบ </span>Real-time ผ่านระบบ VDO conference สามารถช่วยคัดกรองผู้ป่วยได้ในเบื้องต้น</strong></p> <p><strong><span dir="ltr" lang="TH">&bull; <span style="color:black">สสส. จับมือมูลนิธิศูนย์คุ้มครองสิทธิด้านเอดส์ สร้างความเข้าใจไม่เลือกปฏิบัติกับกลุ่มเสี่ยงและผู้ติดเชื้อโควิด - 19</span>ภายใต้แนวคิด </span>&ldquo;สู้โควิด-19 แบบไม่ตีตราและไม่เลือกปฏิบัติ&rdquo;</strong></p> <p><strong><span dir="ltr" lang="TH">&bull; ใช้แอปพลิเคชัน </span>Clicknic ให้คำปรึกษาผ่านวิดีโอคอล และปรับทัศนคติคนในชุมชนให้ลดการตีตราและเลือกปฏิบัติต่อผู้ป่วยที่หายป่วยจากโควิด-19 </strong></p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p><span dir="ltr" lang="TH">กว่าจะถึงวันที่เราไม่จำเป็นต้องสวมหน้ากากอนามัยออกจากบ้าน สามารถเขยิบระยะห่างเข้าหากันได้ใกล้ขึ้น และกระทั่งสามารถใช้ชีวิตได้ตามปรกติอย่างที่เคยเป็น วันนั้นเชื้อไวรัสโควิดคงจะเปลี่ยนสายพันธุ์ใหม่ไปอีกมาก และอาจจะเปลี่ยนโลก สังคม และผู้คนไปจากเดิมในอีกหลายมิติ</span></p> <p>&nbsp;</p> <p><span dir="ltr" lang="TH">ในวิกฤตของสถานการณ์โควิด</span>-19 จึงเป็นโอกาสที่ระบบบริการสุขภาพของไทยควรจะได้รับปรับปรุงพัฒนาให้มีมาตรฐานที่ดีมากยิ่งขึ้น และสอดคล้องกับสถานการณ์โรคระบาดที่เปลี่ยนแปลงไป โดยใช้ช่วงจังหวะที่คนไทยหันมาใส่ใจเรื่องสุขภาพกันมากขึ้นเป็นแรงหนุน นำบริการทางการแพทย์ในรูปแบบใหม่ ๆ มาใช้ในการรักษา นั่นคือการนำเทคโนโลยีมาปรับใช้เป็นบริการระบบสุขภาพวิถีใหม่ ที่เรียกว่า Telemedicine (โทรเวชกรรม) หรือระบบแพทย์ทางไกล<strong> </strong></p> <p>&nbsp;</p> <p><span dir="ltr" lang="TH">โทรเวชกรรมคือการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการดูแลสุขภาพ โดยที่สามารถลดอุปสรรคด้านระยะทาง ลดการเดินทาง ลดค่าใช้จ่าย ลดระยะเวลาการนอนพักรักษาในโรงพยาบาล โดยที่ผู้ป่วยที่อยู่ห่างไกลไม่จําเป็นต้องเข้ารับการตรวจรักษา แต่สามารถรับคำปรึกษา ตรวจวินิจฉัย และรักษาจากแพทย์อย่างรวดเร็วทันเวลา อีกทั้งสามารถติดตามการรักษาผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้ตลอดเวลาและต่อเนื่อง</span></p> <p>&nbsp;</p> <p><span dir="ltr" lang="TH">การรักษาด้วยวิธีนี้จะมีการพูดคุยแบบ </span>Real-time (เสมือนจริง) สื่อสารผ่านระบบ VDO conference (การส่งสัญญาณภาพเคลื่อนไหวพร้อมเสียง) ซึ่งคู่สนทนาสามารถมองเห็นหน้าและสนทนากันได้ทั้ง 2 ฝ่าย ช่วยลดข้อจำกัดเรื่องเวลา สถานที่ และช่วงในการแพร่ระบาดของโควิด &ndash; 19 ยังสามารถรักษาระยะห่างทางสังคมได้ด้วย ซึ่งจะช่วยคัดกรองผู้ป่วยในเบื้องต้น ช่วยประหยัดเวลา และลดความแออัดของโรงพยาบาลลงได้</p> <p>&nbsp;</p> <p style="text-align:center"><img alt="" height="473" src="https://knowledgesharing.thaihealth.or.th/userfiles/14/images/image-20240220154520-1.jpeg" width="841" /></p> <p>&nbsp;</p>

2024-02-20 08:46:29 - Super Admin ID1

โพสต์เพิ่มเติม