Brown-out Syndrome ‘ภาวะหมดใจ’ วิกฤตเงียบในที่ทำงาน
<p style="text-align:center"><img alt="" height="692" src="https://knowledgesharing.thaihealth.or.th/userfiles/14/images/image-20240222142920-1.jpeg" width="1038" /></p> <p> </p> <p><span style="font-size:11pt"><span style="font-family:Calibri,"><span dir="ltr" lang="TH" style="font-size:16.0pt">อยู่ ๆ พนักงานคนเก่งคนดีก็ลาออกไปอย่างไม่มีปี่มีขลุ่ย! ทั้ง ๆ ที่ก่อนหน้านั้น พวกเขาเคยแสดงความมุ่งมั่น ทุ่มเท และหลงใหลในงานของตัวเองอย่างมาก</span></span></span></p> <p><span style="font-size:11pt"><span style="font-family:Calibri,"><span dir="ltr" lang="TH" style="font-size:16.0pt">กับสถานการณ์เช่นนี้ เมื่อค้นลงลึกอาจพบว่า เหตุผลที่อยู่เบื้องหลังคือ <strong>“</strong></span><span style="font-size:16.0pt">Brown-out Syndrome” หรือ <em>“ภาวะหมดใจในการทำงาน”</em></span></span></span></p> <p><span style="font-size:11pt"><span style="font-family:Calibri,"><span style="font-size:16.0pt">Brown-out หมายถึง ไฟตก อาจมีไฟดับเป็นบางช่วง ขณะที่ในโลกของการงาน บราวน์-เอาท์ ซินโดรม คือ <strong>การขาดแรงจูงใจ ขาดความกระตือรือร้น มีความสนใจในงานลดลง รู้สึกไม่ได้รับคุณค่าและความสำคัญเท่าที่ควร</strong> จึงทำให้ออกห่างจากงานมากขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบในระยะยาวทั้งต่องานและชีวิตส่วนตัว</span></span></span></p> <p> </p>
2024-02-22 07:31:02 - Super Admin ID1