ฝุ่น PM2.5 เป็นสารก่อมะเร็ง เสี่ยงเสียชีวิตสูง ตายปีละ 7 หมื่นคน

<p style="text-align:center"><img alt="" height="512" src="https://knowledgesharing.thaihealth.or.th/userfiles/14/images/image-20240319143032-1.jpeg" width="911" /></p> <p><span style="font-family:Arial,Helvetica,sans-serif"><strong>Highlight </strong></span></p> <p><span style="font-family:Arial,Helvetica,sans-serif">&bull; ฝุ่น PM2.5 ถูกจัดเป็นสารก่อมะเร็ง โดยเฉพาะมะเร็งปอดซึ่งเป็นโรคที่ทำให้คนไทยเสียชีวิตอันดับ 2<span dir="ltr" lang="TH"> (เป็นอันดับ </span>2<span dir="ltr" lang="TH"> ในผู้ชายรองจากมะเร็งตับ และเป็นอันดับ </span>1<span dir="ltr" lang="TH"> ในผู้หญิง) การตรวจคัดกรองโรคในระยะแรกทำได้ยาก เมื่อผู้ป่วยมีอาการผิดปกติมักจะเป็นในระยะที่ลุกลามแล้วจึงมีอัตราเสียชีวิตสูง </span></span></p> <p><span style="font-family:Arial,Helvetica,sans-serif">&bull; งานวิจัยระบุว่าคนไทยเสียชีวิตจากฝุ่น PM2.5 ประมาณ 70,000<span dir="ltr" lang="TH"> คนต่อปี ขณะที่องค์การอนามัยโลกพบว่า ประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตจาก </span>PM2.5<span dir="ltr" lang="TH"> สูงเป็น </span>4<span dir="ltr" lang="TH"> เท่าของการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุการจราจรทางบก </span></span></p> <p><span style="font-family:Arial,Helvetica,sans-serif">&bull; คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติได้เห็นชอบกำหนดมาตรฐานฝุ่น PM<span dir="ltr" lang="TH">2.5 ใหม่ จากค่ามาตรฐานเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ไม่เกิน 50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (มคก./ลบ.ม.) ปรับลดลงเป็น 37.5 มคก./ลบ.ม. มีผลบังคับใช้วันที่ 1 มิถุนายน 2566 และค่าเฉลี่ยรายปีจากเดิม 25 มคก./ลบ.ม. ปรับลดลงเป็น 15 มคก./ลบ.ม. มีผลบังคับใช้หลังประกาศราชกิจจานุเบกษา</span></span></p> <p>&nbsp;</p> <p><span style="font-size:12px"><span style="font-family:Arial,Helvetica,sans-serif"><span dir="ltr" lang="TH">-----------</span></span></span></p> <p>&nbsp;</p> <p><span style="font-family:Arial,Helvetica,sans-serif"><span dir="ltr" lang="TH">ในประเทศไทยมีอัตราการเกิดโรคมะเร็งที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ข้อมูลล่าสุดพบว่า มีผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่ปีละนับแสนราย และเสียชีวิตเฉียดหลักแสนรายเช่นกัน สำหรับมะเร็งที่พบบ่อยมากที่สุดในคนไทย </span>5<span dir="ltr" lang="TH"> อันดับ ประกอบด้วย มะเร็งตับและมะเร็งท่อน้ำดี, มะเร็งปอด, มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก, มะเร็งเต้านม &nbsp;&nbsp;&nbsp;และมะเร็งปากมดลูก (</span>1)</span></p> <p>&nbsp;</p>

2024-03-19 07:32:29 - Super Admin ID1

โพสต์เพิ่มเติม