ลด ละ เลิกเหล้า ด้วยพลังของชุมชน

<p><span style="font-size:12pt"><span style="font-family:Calibri,"><span dir="ltr" lang="TH" style="font-size:16.0pt"><span style="font-family:KaLaTeXa">การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ยังคงเป็นปัญหาท้าทายที่สำคัญของประเทศไทย ท่ามกลางการต่อสู้อันยาวนานนี้ หนึ่งในสัญญาณแห่งความหวังที่จะสนับสนุนให้ประชากรเลิกสุราได้ คือ การมีส่วนร่วมของชุมชน</span></span></span></span><br /> <span style="font-size:12pt"><span style="font-family:Calibri,"><span dir="ltr" lang="TH" style="font-size:16.0pt"><span style="font-family:KaLaTeXa">จากรายงานภาระโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทย ปี </span></span><span style="font-size:16.0pt"><span style="font-family:KaLaTeXa">2557 พบว่า การเสพติดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นสาเหตุลำดับที่ 5 ของการสูญเสียปีสุขภาวะ (DALYs) ในเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 4.5 และเป็นสาเหตุลำดับที่ 1 ของการสูญเสียปีสุขภาวะจากภาวะบกพร่องทางสุขภาพ (YLDs) ในเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 13.1 และเป็นสาเหตุลำดับที่ 12 ในเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 1.7&nbsp;</span></span></span></span><br /> <br /> <br /> <span style="font-size:12pt"><span style="font-family:Calibri,"><span dir="ltr" lang="TH" style="font-size:16.0pt"><span style="font-family:KaLaTeXa">ในการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และการดื่มสุราของประชากร ปี </span></span><span style="font-size:16.0pt"><span style="font-family:KaLaTeXa">2560 พบว่า ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป จำนวน 55.9 ล้านคน ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ประมาณ 10.7 ล้านคน กลุ่มอายุ 25-44 ปี มีอัตราการดื่มสุราสูงสุด ร้อยละ 36.0 </span></span></span></span><br /> <span style="font-size:12pt"><span style="font-family:Calibri,"><span dir="ltr" lang="TH" style="font-size:16.0pt"><span style="font-family:KaLaTeXa">ผลการสำรวจระบาดวิทยาสุขภาพจิตของคนไทยระดับชาติ ปี </span></span><span style="font-size:16.0pt"><span style="font-family:KaLaTeXa">2556 พบว่า <strong>คนไทยอายุ </strong><strong>18 ปีขึ้นไปที่มีความผิดปกติของพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 2.7 ล้านคน แต่เข้ารับบริการสุขภาพเพียงร้อยละ 1.6 และในปี 2563 จากรายงานกระทรวงสาธารณสุข พบว่า ผู้มีปัญหาจากการดื่มสุราเข้ารับการบำบัดในสถานบริการสุขภาพเพียงร้อยละ 9.47</strong></span></span></span></span><br /> <br /> <span style="font-size:12pt"><span style="font-family:Calibri,"><span dir="ltr" lang="TH" style="font-size:16.0pt"><span style="font-family:KaLaTeXa">ด้วยสถานการณ์ที่เป็นอยู่นี้มีความจำเป็นต้องดำเนินมาตรการเพื่อสร้างแรงจูงใจให้มีการบำบัดฟื้นฟูและเลิกดื่มแอลกอฮอล์อย่างจริงจัง โดยดึงชุมชนเข้ามามีบทบาทสำคัญ</span></span></span></span><br /> <span style="font-size:12pt"><span style="font-family:Calibri,"><span dir="ltr" lang="TH" style="font-size:16.0pt"><span style="font-family:KaLaTeXa">สมาคมฮักชุมชน โดยการสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ &nbsp;(สสส.) <strong>ได้จัดทำโครงการเพื่อส่งเสริมการลด ละ เลิก การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์</strong> เน้นการทำงานผ่านชุมชนและวัด ซึ่งใกล้ชิดกับกลุ่มเป้าหมาย โดยถือเอาช่วงเข้าพรรษา </span></span><span style="font-size:16.0pt"><span style="font-family:KaLaTeXa">3 เดือน เป็นจุดเริ่มต้น </span></span></span></span><br /> <span style="font-size:12pt"><span style="font-family:Calibri,"><span dir="ltr" lang="TH" style="font-size:16.0pt"><span style="font-family:KaLaTeXa">เป้าหมายเพื่อให้เป็น<strong>กลไกขับเคลื่อนโดยที่คนในชุมชนซึ่งเข้าใจปัญหาได้เข้ามามีส่วนร่วม ด้วยการให้ความรู้ ทักษะ เครื่องมือในการดูแลผู้มีปัญหาสุรา และสามารถติดตามผลได้ นอกจากช่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดื่มแล้ว ยังเป็นการสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับครอบครัวและชุมชน ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นด้วย</strong></span></span></span></span><br /> <img alt="" height="517" src="https://knowledgesharing.thaihealth.or.th/userfiles/14/images/image-20240605130135-1.png" width="777" /><img alt="" height="519" src="https://knowledgesharing.thaihealth.or.th/userfiles/14/images/image-20240605130135-2.png" width="777" /><br /> <br /> <br /> <br /> <br /> <br /> <br /> <br /> <br /> <br /> <br /> <span style="font-size:12pt"><span style="font-family:Calibri,"><span dir="ltr" lang="TH" style="font-size:16.0pt"><span style="font-family:KaLaTeXa">โครงการมี </span></span><span style="font-size:16.0pt"><span style="font-family:KaLaTeXa">2 รูปแบบคือ <strong>&ldquo;รูปแบบธรรมนำทาง&rdquo;</strong> เป็นกิจกรรมในวัดที่มีพระสงฆ์ช่วยสร้างสติเสริมปัญญา ควบคู่ไปกับการให้ความรู้จากบุคลากรสุขภาพ พร้อมมีชุมชนและครอบครัวร่วมสนับสนุน</span></span></span></span><br /> <span style="font-size:12pt"><span style="font-family:Calibri,"><span dir="ltr" lang="TH" style="font-size:16.0pt"><span style="font-family:KaLaTeXa">ส่วน <strong>&ldquo;รูปแบบกลุ่มฮักครอบครัว&rdquo;</strong> เป็นการทำกิจกรรมกลุ่ม โดยผู้มีปัญหาสุราและสมาชิกในครอบครัวต้องเข้าร่วมทำกิจกรรมแลกเปลี่ยนประสบการณ์และมีการติดตามผล</span></span></span></span><br /> <span style="font-size:12pt"><span style="font-family:Calibri,"><span dir="ltr" lang="TH" style="font-size:16.0pt"><span style="font-family:KaLaTeXa">ทั้ง </span></span><span style="font-size:16.0pt"><span style="font-family:KaLaTeXa">2 รูปแบบใช้เวลา 12 เดือน ระหว่างนั้นจะมีการติดตาม การฝึกพัฒนาทักษะให้อาชีพสร้างรายได้ เพื่อให้เลิกสุราได้อย่างยั่งยืน</span></span></span></span><br /> <span style="font-size:12pt"><span style="font-family:Calibri,"><span dir="ltr" lang="TH" style="font-size:16.0pt"><span style="font-family:KaLaTeXa">หนึ่งในพื้นที่ต้นแบบซึ่งประสบความสำเร็จจากการดูแลผู้มีปัญหาสุราโดยชุมชนคือ <strong>เทศบาลตำบลสบเตี๊ยะ อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่</strong> โดยมีพื้นที่นำร่องใน </span></span><span style="font-size:16.0pt"><span style="font-family:KaLaTeXa">8 หมู่บ้านของตำบลสบเตี๊ยะซึ่งเป็นรูปแบบกลุ่มฮักครอบครัว หลังจากดำเนินการมา 2 ปี ได้มีการอบรมพัฒนาทักษะคนในพื้นที่ 124 คน ให้มีความรู้ด้านบริหารจัดการและการจัดกิจกรรมกลุ่มฮักครอบครัว และบำบัดการเลิกเหล้า</span></span></span></span><br /> <br /> <img alt="" height="516" src="https://knowledgesharing.thaihealth.or.th/userfiles/14/images/image-20240605130135-3.png" width="777" /><br /> <br /> <span style="font-size:12pt"><span style="font-family:Calibri,"><span dir="ltr" lang="TH" style="font-size:16.0pt"><span style="font-family:KaLaTeXa">ในจำนวนนี้ผู้มีปัญหาจากการดื่มสุราที่มีแนวโน้มดื่มจนทำให้เกิดปัญหากับตนเอง ครอบครัว และชุมชน เข้าร่วมจำนวน </span></span><span style="font-size:16.0pt"><span style="font-family:KaLaTeXa">55 คน สามารถปรับพฤติกรรมจนเลิกดื่มสำเร็จ 12 คน (ร้อยละ 22) ลดการดื่มลง 38 คน (ร้อยละ 69) ดื่มในระดับเดิม 4 คน (ร้อยละ 7) และเสียชีวิตด้วยโรคประจำตัว 1 คน</span></span></span></span><br /> <span style="font-size:12pt"><span style="font-family:Calibri,"><span dir="ltr" lang="TH" style="font-size:16.0pt"><span style="font-family:KaLaTeXa">ผู้มีปัญหาสุราส่วนใหญ่ที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยลดการดื่มสุราลงได้ จะมีสุขภาพดีขึ้น ได้รับโอกาสการจ้างงาน มีความเข้าใจกันในครอบครัวมากขึ้น และเข้าร่วมกิจกรรมในชุมชนมากขึ้น</span></span></span></span><br /> <span style="font-size:12pt"><span style="font-family:Calibri,"><span dir="ltr" lang="TH" style="font-size:16.0pt"><span style="font-family:KaLaTeXa">จากผลสำเร็จของการดำเนินโครงการ ทำให้เทศบาลตำบลสบเตี๊ยะมีศักยภาพพร้อมเป็นพื้นที่ต้นแบบชุมชนสุขภาวะและจะมุ่งขยายให้เกิดพื้นที่ต้นแบบในทุกภูมิภาคต่อไป </span></span></span></span><br /> &nbsp;</p>

2024-06-05 06:01:40 - Super Admin ID1

โพสต์เพิ่มเติม