0

0

Sudaros
บทนำ

กำลังฝึกเขียนค่ะ
 

หัวข้อที่ 1

ชัชวาลย์ ศิลปกิจ. (2557). การเจริญสติกับภาวะผู้นำ. ในจารุปภา วะสี (บรรณาธิการ) ผู้นำแห่งอนาคต: คุณธรรมการนำร่วมและการเปลี่ยนแปลงจากภายใน(หน้า 15-24). สำนักพิมพ์ภูสายแดด.
 

หัวข้อที่2

ชัชวาลย์ ศิลปกิจ. (2557). การเจริญสติกับภาวะผู้นำ. ในจารุปภา วะสี (บรรณาธิการ) ผู้นำแห่งอนาคต: คุณธรรมการนำร่วมและการเปลี่ยนแปลงจากภายใน(หน้า 15-24). สำนักพิมพ์ภูสายแดด.
 

อ้างอิง

ชัชวาลย์ ศิลปกิจ. (2557). การเจริญสติกับภาวะผู้นำ. ในจารุปภา วะสี (บรรณาธิการ) ผู้นำแห่งอนาคต: คุณธรรมการนำร่วมและการเปลี่ยนแปลงจากภายใน(หน้า 15-24). สำนักพิมพ์ภูสายแดด.
 

0 ถูกใจ 534 การเข้าชม

งานบทความที่กำลังเป็นที่ได้รับความสนใจ

ส่วนที่ 3 บริบทแวดล้อมและปัจจัยเอื้อ เครื่องมือ/สื่อในการสร้างเสริมสุขภาวะด้านความปลอดภัยทางถนน
1708932589.JPG

Writer Don ID2

ส่วนที่ 3 บริบทแวดล้อมและปัจจัยเอื้อ เครื่องมือ/สื่อในการสร้างเสริมสุข...

เยาวชนเหยื่อรายใหม่ของบุหรี่ไฟฟ้า
1708931705.jpg

Super Admin ID1

เยาวชนเหยื่อรายใหม่ของบุหรี่ไฟฟ้า

ส่วนที่ 2 : กระบวนการ และกลไก สร้างเสริมสุขภาวะ เพื่อส่งเสริมจัดการแก้ไขปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลต่อสุขภาพจิต
defaultuser.png

Admin ID3

ส่วนที่ 2 : กระบวนการ และกลไก สร้างเสริมสุขภาวะ เพื่อส่งเสริมจัดการแก้...

เกี่ยวกับเรา
1719481749.jpeg

Super Admin ID2

เกี่ยวกับเรา

ยอมรับ! ต่างรุ่นต่างประสบการณ์ ช่วยลดความขัดแย้งในครอบครัว
1708931705.jpg

Super Admin ID1

ยอมรับ! ต่างรุ่นต่างประสบการณ์ ช่วยลดความขัดแย้งในครอบครัว

งานบทความที่เกี่ยวข้อง

surachet@thaihealth.or.th

Highlight

ดนตรีบำบัด (Music Therapy) คือ การใช้ดนตรีและวิธีการทางดนตรีในการช่วยฟื้นฟู รักษา และพัฒนาด้านอารมณ์ ร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยให้ดีขึ้น

 

ความมหัศจรรย์ของดนตรีบำบัด คือ ลดความเจ็บปวด คนไข้ผ่าตัด ฟังดนตรีจะลดอาการปวด ใช้ยาแก้ปวดน้อยลง ทำให้เลือดลมดี หากฟังเพลงที่ค่อย ๆ

 เพิ่มความดังทีละน้อย ทำให้เส้นเลือดขยาย เลือดลมเดินสะดวก

 

วิชาชีพดนตรีบำบัดเป็นที่รู้จักและเผยแพร่ในหลายประเทศในยุโรปและอเมริกา ขณะที่ในประเทศไทยมีนักดนตรีบำบัดที่มีใบอนุญาตไม่เกิน 10 คน ทุกคนเรียนจบและได้รับใบอนุญาตจากต่างประเทศ ปัจจุบันเริ่มมีการเปิดหลักสูตรดนตรีบำบัด เช่น มหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยขอนแก่น

 

 

ท่ามกลางคนแปลกหน้าจำนวนมาก บ้างคุยกันเงียบ ๆ บางคนพยายามเพ่งความสนใจไปยังโทรทัศน์ คว้านิตยสารมาเปิดอ่าน ไถโทรศัพท์ในอุ้งมือ สีหน้าท่าทางเต็มไปด้วยความกังวลใจ เคร่งเครียด เจ็บปวด บางคนร้องไห้ และดูเหมือนเวลารอบ ๆ คนเหล่านั้นจะเคลื่อนผ่านไปอย่างเชื่องช้า โมงยามในสถานพยาบาลมักเป็นอย่างนี้

พลันใดนั้น เสียงดนตรีล่องลอยมาจากมุมนั่งคอย เมื่อการแสดงสดของวงดนตรีเริ่มบรรเลง นำพาความคิดจิตใจของผู้คนไปยังที่มาของเส้นเสียงเหล่านั้น

ความเครียด ความวิตกกังวล หรือพลังงานลบต่าง ๆ ที่ทุกคนแบกมันไว้ในอาณาบริเวณนั้นก็ค่อย ๆ เบาบางเจือจางลงด้วยพลังเสียงจากดนตรี

มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์มากมายยืนยันว่า ดนตรีนั้นมีพลังช่วยกระตุ้นการตอบสนองทางอารมณ์เชิงบวก นำไปสู่การปลดปล่อยสารแห่งความสุข จึงเป็นวิธีง่าย ๆ ในการเปลี่ยนอารมณ์ บรรเทาความเครียด เหนื่อยล้า หรือแม้แต่ลดความเจ็บปวด

ในมุมนั่งคอยในสถานพยาบาลที่ให้ความบันเทิงและผ่อนคลาย ดนตรีในฐานะเครื่องมืออันทรงพลังของกระบวนการ “ดนตรีบำบัด”​ ก็จะช่วยบรรเทาหรือรักษาอาการเจ็บป่วยทางกายและจิตใจ เป็นการแพทย์ทางเลือกที่ได้รับการยอมรับในนานาประเทศ