0

0

Praew
บทนำ

ความเครียด ความวิตกกังวล หรือพลังงานลบต่าง ๆ ที่ทุกคนแบกมันไว้ในอาณาบริเวณนั้นก็ค่อย ๆ เบาบางเจือจางลงด้วยพลังเสียงจากดนตรี

มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์มากมายยืนยันว่า ดนตรีนั้นมีพลังช่วยกระตุ้นการตอบสนองทางอารมณ์เชิงบวก นำไปสู่การปลดปล่อยสารแห่งความสุข จึงเป็นวิธีง่าย ๆ ในการเปลี่ยนอารมณ์ บรรเทาความเครียด เหนื่อยล้า หรือแม้แต่ลดความเจ็บปวด

 

อารมณ์

อารมณ์ของบุคคลมีความหลากหลาบ อาจเกกิดขึ้นได้มากหมายตามสถานการณ์ที่พบในชีวิตประจำวัน ทั้งความพึงพอใจ ความโกรธ ความร่าเริง ความเจ็บปวด ความผิดหวัง เพราะตลอดเวลาที่บุคคล อยู่ในสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่ง 

แก้ไข



 

ความสุขที่เพิ่มขึ้น

อารมณ์ของบุคคลมีความหลากหลาบ อาจเกกิดขึ้นได้มากหมายตามสถานการณ์ที่พบในชีวิตประจำวัน ทั้งความพึงพอใจ ความโกรธ ความร่าเริง ความเจ็บปวด ความผิดหวัง เพราะตลอดเวลาที่บุคคล อยู่ในสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่ง 

อ้างอิง

http://www.digitalschool.club/digitalschool/technologym1-3/inventionm1_1/lesson3/p6.php

0 ถูกใจ 564 การเข้าชม

งานบทความที่กำลังเป็นที่ได้รับความสนใจ

การแต่งเพลงช่วยเยียวยารักษาใจ  ท่วงทำนองชีวิตวัยรุ่นยุคนิวนอร์มอล
1708931705.jpg

Super Admin ID1

การแต่งเพลงช่วยเยียวยารักษาใจ ท่วงทำนองชีวิตวัยรุ่นยุคนิวนอร์มอล

รู้จักตัวเองพื้นฐานความมั่นคงทางจิตใจ
defaultuser.png

ชลธยา ทรงรูป

รู้จักตัวเองพื้นฐานความมั่นคงทางจิตใจ

นโยบายเว็บไซต์
1719481749.jpeg

Super Admin ID2

นโยบายเว็บไซต์

ถึงเวลาล้างพิษโซเชียลมีเดีย ช่วยปรับสุขภาพจิตให้ปลอดโปร่งขึ้น
1708931705.jpg

Super Admin ID1

ถึงเวลาล้างพิษโซเชียลมีเดีย ช่วยปรับสุขภาพจิตให้ปลอดโปร่งขึ้น

ตลาดบุหรี่ไฟฟ้าเติบโต เสี่ยงผลกระทบสุขภาพวัยรุ่น
1708931705.jpg

Super Admin ID1

ตลาดบุหรี่ไฟฟ้าเติบโต เสี่ยงผลกระทบสุขภาพวัยรุ่น

งานบทความที่เกี่ยวข้อง

Sasitha

โรคซึมเศร้า มิใช่โรคจิตหรือโรคประสาท เป็นโรคทางอารมณ์ อารมณ์เศร้านี่เอง ทำให้คิดทุกอย่างด้านลบ คิดว่าตนเองผิด คิดว่าตนเองไร้ค่า คิดว่าหมดหวัง อาการของโรคมักเริ่มจากเป็นน้อย ๆ และมากขึ้นไปจนถึงคิดอยากตาย 

โรคซึมเศร้ามีสาเหตุจากการสูญเสีย หรือความเครียดทางจิตใจก็ได้ เช่น ปัญหาการเรียน การทำงาน หรือความสูญเสียในชีวิต (เช่น สอบตก อกหัก คนรักเสียชีวิต หย่าร้าง ตกงาน) หรือเกิดจากการทำงานน้อยลง ของสารสื่อนำประสาทบางตัว

 

โรงเรียนและผู้ปกครอง สามารถช่วยเหลือนักเรียนด้านจิตใจเบื้องต้นด้วย หลักการปฐมพยาบาลทางใจ 3 ส จะช่วยให้เข้าถึง เข้าใจ และช่วยเหลือนักเรียนได้ทันเวลา

ส.ที่หนึ่ง คือ สอดส่อง มองหา ตรวจสอบคนที่มีพฤติกรรมผิดปกติ โดยสังเกตอาการเบื้องต้นหรือสอบถามอาการ 9 ข้อ

ส.ที่สอง คือ ใส่ใจ รับฟัง

ส.ที่สาม คือ ส่งต่อ เชื่อมโยง

หากโรงเรียน คุณครู เพื่อน และผู้ปกครอง ช่วยกันสอดส่อง ใส่ใจ ช่วยเหลือ ก็จะช่วยให้การรับมือกับปัญหาโรคซึมเศร้าได้ช่วยให้เด็กมีสุขภาพจิตที่ดี  
มีภาวะทางอารมณ์ที่ดี และพร้อมเติบโตรับรู้สิ่งใหม่ ๆ ได้อย่างเหมาะสม