0

0

ผู้เขียน :Admin nicky

ผู้มีส่วนรวม : Admin nicky

ผู้มีส่วนรวม : Admin nicky

อัพเดทเมื่อวันที่ : 2025-04-23 12:59:29

บทนำ

โครงสร้างข้อมูลความรู้ประเด็นกิจกรรมทางกาย เพื่อการนำเสนอในระบบบริหารจัดการความรู้แบบมีส่วนร่วม ได้จากการศึกษาทบทวน สกัดและสังเคราะห์เนื้อหาจากรายงานการทบทวนองค์ความรู้สุขภาวะการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย เพื่อสนับสนุนการสื่อสารและขยายผล ตามกรอบแนวคิดการสังเคราะห์องค์ความรู้ประเด็นกิจกรรมทางกาย จะได้ผังโครงสร้างข้อมูลความรู้ประเด็นกิจกรรมทางกาย เพื่อการนำเสนอในระบบบริหารจัดการความรู้แบบมีส่วนร่วม ประกอบด้วย 5 ส่วน ซึ่งในแต่ละส่วนจะประกอบด้วย หัวข้อหลัก หัวข้อรอง หัวข้อย่อยและสาระสำคัญ เพื่อเป็นข้อมูล/องค์ความรู้ที่สังเคราะห์เข้าสู่ระบบบริหารจัดการความรู้แบบมีส่วนร่วม มีดังนี้

ส่วนที่ 1 สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นกิจกรรมทางกาย และเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ มาตรการขับเคลื่อนงานของ สสส. และภาคี ซึ่งมีสาระสำคัญประกอบด้วย 4 หัวข้อหลัก 11 หัวข้อรอง และ 4 หัวข้อย่อย

ส่วนที่ 2 กลไก และกระบวนการสร้างเสริมสุขภาวะในประเด็นกิจกรรมทางกายที่เกี่ยวเนื่องกับกรอบแนวคิดหลัก สสส. และสอดคล้องกับปัจจัยกำหนดสุขภาพ ซึ่งมีสาระสำคัญประกอบด้วย  5 หัวข้อหลัก  10 หัวข้อรอง 9 หัวข้อย่อย

ส่วนที่ 3 บริบท เครื่องมือ สื่อ ปัจจัยเอื้อ นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะในประเด็นกิจกรรมทางกายที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ซึ่งมีสาระสำคัญประกอบด้วย  5 หัวข้อหลัก  14 หัวข้อรอง 35 หัวข้อย่อย

ส่วนที่ 4 บทสังเคราะห์เพื่อการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมกิจกรรมทางกาย ซึ่งมีสาระสำคัญประกอบด้วย  4 หัวข้อหลัก  4 หัวข้อรอง

ส่วนที่ 5 ข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อการสืบค้น ซึ่งมีสาระสำคัญประกอบด้วย หัวข้อหลัก 9 หัวข้อรอง

ส่วนที่ 2 กลไก และกระบวนการสร้างเสริมสุขภาวะในประเด็นกิจกรรมทางกายที่เกี่ยวเนื่องกับกรอบแนวคิดหลัก สสส. และสอดคล้องกับปัจจัยกำหนดสุขภาพ

โดยมีสาระสำคัญประกอบด้วย  5 หัวข้อหลัก 10 หัวข้อรอง และ 9 หัวข้อย่อย

2.1 นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมกิจกรรมทางกายระดับนานาชาติ

 

2.1.1 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs

 

2.1.2 แผนปฏิบัติการว่าด้วยการเคลื่อนไหวร่างกาย 2561 – 2573 ขององค์การอนามัยโลก ( WHO’s global action plan on physical activity for 2018 – 2030 )

 

2.1.3 กฎบัตรโตรอนโตเพื่อกิจกรรมทางกาย: ข้อเสนอระดับโลกเพื่อให้เกิดการปฏิบัติ (The Toronto Charter for Physical Activity: A Global Call for Action)

 

2.1.3.1 หลักการสำหรับแนวทางการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่เน้นกลุ่มประชากร

 

2.1.3.2 กรอบการลงมือปฏิบัติ

 

2.1.3.3 ตัวอย่างการลงมือปฏิบัติในหลายประเทศ

 

2.1.4 กฎบัตรกรุงเทพฯ (The Bangkok Charter for Health Promotion in Globalized World)

 

2.1.5 แผนปฏิบัติการเพื่อลดภาระโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของโลก (Global Action Plan on Prevention and Control of Noncommunicable Diseases)

 

2.2 นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมกิจกรรมทางกายประเทศไทย

 

2.2.1 แผนการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย พ.ศ. 2561-2573

 

2.2.1.1 ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน

 

2.2.1.2 กรอบคิดขับเคลื่อนงานส่งเสริมกิจกรรมทางกาย

 

2.2.1.3 การประเมินผลแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย

 

2.2.2 มติสมัชชาสุขภาพครั้งที่ 10

 

2.3 กรอบคิด ทฤษฎีและหลักการที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางกาย

 

2.3.1 แนวคิดและหลักการพัฒนาโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

 

2.3.1.1 กรอบทฤษฎีสำคัญ ในการพัฒนาโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

 

2.3.2 ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy)

 

2.3.2.1 องค์ประกอบของ ความรอบรู้ด้านสุขภาพ

 

2.3.2.2 แนวทางการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ

 

2.3.3 กฎบัตรออตตาวาเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ (Ottawa Charter for Health Promotion -1986)

 

2.4 หน่วยงานภาครัฐที่มีบทบาทเกี่ยวข้องโดยตรงต่อการขับเคลื่อนตามแผนแม่บทการส่งเสริม กิจกรรมทางกาย (พ.ศ. 2561 - 2573)

 

2.5 แพลตฟอร์มฐานข้อมูลเพื่อพัฒนางานสร้างเสริมกิจกรรมทางกายเชิงระบบ

 

อ้างอิง

โดยทีมข้อมูล (THKS) https://knowledgesharing.thaihealth.or.th/

 

งานบทความที่กำลังเป็นที่ได้รับความสนใจ

ข้ามพ้นภาวะเครียดช่วงโควิด-19 รักษาสุขภาพใจ ลดผลกระทบระยะยาว
1708931705.jpg

Super Admin ID1

ข้ามพ้นภาวะเครียดช่วงโควิด-19 รักษาสุขภาพใจ ลดผลกระทบระยะยาว

‘ลองโควิด’ สึนามิลูกต่อมา ฉุดเศรษฐกิจและกระทบการใช้ชีวิต
1708931705.jpg

Super Admin ID1

‘ลองโควิด’ สึนามิลูกต่อมา ฉุดเศรษฐกิจและกระทบการใช้ชีวิต

สอนลูกให้รอดจากการคุกคามทางเพศ
1708931705.jpg

Super Admin ID1

สอนลูกให้รอดจากการคุกคามทางเพศ

ปกป้องชีวิตเด็กไทยด้วยหมวกนิรภัย
1708931705.jpg

Super Admin ID1

ปกป้องชีวิตเด็กไทยด้วยหมวกนิรภัย

การให้คุณค่าและรับฟังเสียงพนักงาน  ปัจจัยสร้างองค์กรแห่งความสุขในอนาคต
1708931705.jpg

Super Admin ID1

การให้คุณค่าและรับฟังเสียงพนักงาน ปัจจัยสร้างองค์กรแห่งความสุขในอนาคต

งานบทความที่เกี่ยวข้อง

ส่วนที่ 3 บริบท เครื่องมือ สื่อ ปัจจัยเอื้อ นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะในประเด็นกิจกรรมทางกายที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเป้าหมายต่างๆ

Admin nicky

โครงสร้างข้อมูลความรู้ประเด็นกิจกรรมทางกาย เพื่อการนำเสนอในระบบบริหารจัดการความรู้แบบมีส่วนร่วม ได้จากการศึกษาทบทวน สกัดและสังเคราะห์เนื้อหาจากรายงานการทบทวนองค์ความรู้สุขภาวะการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย เพื่อสนับสนุนการสื่อสารและขยายผล ตามกรอบแนวคิดการสังเคราะห์องค์ความรู้ประเด็นกิจกรรมทางกาย จะได้ผังโครงสร้างข้อมูลความรู้ประเด็นกิจกรรมทางกาย เพื่อการนำเสนอในระบบบริหารจัดการความรู้แบบมีส่วนร่วม ประกอบด้วย 5 ส่วน ซึ่งในแต่ละส่วนจะประกอบด้วย หัวข้อหลัก หัวข้อรอง หัวข้อย่อยและสาระสำคัญ เพื่อเป็นข้อมูล/องค์ความรู้ที่สังเคราะห์เข้าสู่ระบบบริหารจัดการความรู้แบบมีส่วนร่วม มีดังนี้

ส่วนที่ 1 สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นกิจกรรมทางกาย และเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ มาตรการขับเคลื่อนงานของ สสส. และภาคี ซึ่งมีสาระสำคัญประกอบด้วย 4 หัวข้อหลัก 11 หัวข้อรอง และ 4 หัวข้อย่อย

ส่วนที่ 2 กลไก และกระบวนการสร้างเสริมสุขภาวะในประเด็นกิจกรรมทางกายที่เกี่ยวเนื่องกับกรอบแนวคิดหลัก สสส. และสอดคล้องกับปัจจัยกำหนดสุขภาพ ซึ่งมีสาระสำคัญประกอบด้วย  5 หัวข้อหลัก  10 หัวข้อรอง 9 หัวข้อย่อย

ส่วนที่ 3บริบท เครื่องมือ สื่อ ปัจจัยเอื้อ นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะในประเด็นกิจกรรมทางกายที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ซึ่งมีสาระสำคัญประกอบด้วย  5 หัวข้อหลัก  14 หัวข้อรอง 35 หัวข้อย่อย

ส่วนที่ 4บทสังเคราะห์เพื่อการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมกิจกรรมทางกาย ซึ่งมีสาระสำคัญประกอบด้วย  4 หัวข้อหลัก  4 หัวข้อรอง

ส่วนที่ 5ข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อการสืบค้น ซึ่งมีสาระสำคัญประกอบด้วย หัวข้อหลัก 9 หัวข้อรอง