0

0

ผู้เขียน :Admin nicky

ผู้มีส่วนรวม : Admin nicky

ผู้มีส่วนรวม : Admin nicky

อัพเดทเมื่อวันที่ : 2025-04-25 07:16:30

บทนำ

โครงสร้างข้อมูลความรู้ประเด็นกิจกรรมทางกาย เพื่อการนำเสนอในระบบบริหารจัดการความรู้แบบมีส่วนร่วม ได้จากการศึกษาทบทวน สกัดและสังเคราะห์เนื้อหาจากรายงานการทบทวนองค์ความรู้สุขภาวะการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย เพื่อสนับสนุนการสื่อสารและขยายผล ตามกรอบแนวคิดการสังเคราะห์องค์ความรู้ประเด็นกิจกรรมทางกาย จะได้ผังโครงสร้างข้อมูลความรู้ประเด็นกิจกรรมทางกาย เพื่อการนำเสนอในระบบบริหารจัดการความรู้แบบมีส่วนร่วม ประกอบด้วย 5 ส่วน ซึ่งในแต่ละส่วนจะประกอบด้วย หัวข้อหลัก หัวข้อรอง หัวข้อย่อยและสาระสำคัญ เพื่อเป็นข้อมูล/องค์ความรู้ที่สังเคราะห์เข้าสู่ระบบบริหารจัดการความรู้แบบมีส่วนร่วม มีดังนี้

ส่วนที่ 1 สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นกิจกรรมทางกาย และเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ มาตรการขับเคลื่อนงานของ สสส. และภาคี ซึ่งมีสาระสำคัญประกอบด้วย 4 หัวข้อหลัก 11 หัวข้อรอง และ 4 หัวข้อย่อย

ส่วนที่ 2 กลไก และกระบวนการสร้างเสริมสุขภาวะในประเด็นกิจกรรมทางกายที่เกี่ยวเนื่องกับกรอบแนวคิดหลัก สสส. และสอดคล้องกับปัจจัยกำหนดสุขภาพ ซึ่งมีสาระสำคัญประกอบด้วย  5 หัวข้อหลัก  10 หัวข้อรอง 9 หัวข้อย่อย

ส่วนที่ 3 บริบท เครื่องมือ สื่อ ปัจจัยเอื้อ นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะในประเด็นกิจกรรมทางกายที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ซึ่งมีสาระสำคัญประกอบด้วย  5 หัวข้อหลัก  14 หัวข้อรอง 35 หัวข้อย่อย

ส่วนที่ 4 บทสังเคราะห์เพื่อการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมกิจกรรมทางกาย ซึ่งมีสาระสำคัญประกอบด้วย  4 หัวข้อหลัก  4 หัวข้อรอง

ส่วนที่ 5 ข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อการสืบค้น ซึ่งมีสาระสำคัญประกอบด้วย หัวข้อหลัก 9 หัวข้อรอง

ส่วนที่ 1 สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นกิจกรรมทางกาย และเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ มาตรการขับเคลื่อนงานของ สสส. และภาคี

โดยมีสาระสำคัญประกอบด้วย 4 หัวข้อหลัก 11 หัวข้อรอง และ 4 หัวข้อย่อย

1.1 นิยามและความหมาย: ตามหลักสากล และความเข้าใจเบื้องต้น

 

1.2 แนวคิด ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับกิจกรรมทางกาย

 

1.2.1 กิจกรรมทางกายคืออะไร

 

1.2.2 ระดับของกิจกรรมทางกาย

 

1.2.3 กิจกรรมทางกายที่เหมาะสมกับช่วงวัย

 

1.2.4 กิจกรรมทางกายกับสมรรถนะร่างกาย

 

1.2.5 ปัญหาจากการมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอในทุกช่วงวัย

 

1.2.6 ประโยชน์ของการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ

 

1.3 สถานการณ์กิจกรรมทางกาย: อดีต ปัจจุบัน และอนาคต

 

1.3.1 ทิศทางและแนวโน้มการมีกิจกรรมทางกายของคนไทย ปี 2565

 

1.3.2 โอกาสและการเข้าถึงพื้นที่และบริการทางสุขภาพคือปัจจัยของการมีกิจกรรมทางกายของคนไทย

 

1.4 สสส. กับการขับเคลื่อนแผนกิจกรรมทางกาย

 

1.4.1 แผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (สำนัก 5)

 

1.4.2 ผลการดำเนินงานที่สำคัญตั้งแต่ปี 2555-2563

 

1.4.2.1 พัฒนาการและการก่อตั้งศูนย์องค์ความรู้ด้านกิจกรรมทางกายประเทศไทย (TPAK)

 

1.4.2.3 จุดคานงัดเพื่อขับเคลื่อนแผนกิจกรรมทางกาย

 

1.4.3 ผลการประเมินแผนหลักปี 2560-2563 ของแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย

 

1.4.3.1 ความสำเร็จในระดับ area, setting และmodel development

 

1.4.3.2 ห่วงโซ่ผลลัพธ์ของแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย

 

อ้างอิง

โดยทีมข้อมูล(THKS) https://knowledgesharing.thaihealth.or.th/ 

งานบทความที่กำลังเป็นที่ได้รับความสนใจ

การแต่งเพลงช่วยเยียวยารักษาใจ  ท่วงทำนองชีวิตวัยรุ่นยุคนิวนอร์มอล
1708931705.jpg

Super Admin ID1

การแต่งเพลงช่วยเยียวยารักษาใจ ท่วงทำนองชีวิตวัยรุ่นยุคนิวนอร์มอล

การนอนหลับอย่างมีคุณภาพ ลดความเสี่ยงโรคและตัวชี้วัดสุขภาพที่ดี s
1708931705.jpg

Super Admin ID1

การนอนหลับอย่างมีคุณภาพ ลดความเสี่ยงโรคและตัวชี้วัดสุขภาพที่ดี s

การจราจรซ้ายมือและขวามือ
1708932589.JPG

Writer Don ID2

การจราจรซ้ายมือและขวามือ

เอาชนะการตื่นนอนกลางดึก ปัญหาสุขภาพที่ถูกมองข้าม
1708931705.jpg

Super Admin ID1

เอาชนะการตื่นนอนกลางดึก ปัญหาสุขภาพที่ถูกมองข้าม

ส่วนที่ 5 ข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อการสืบค้น
1708932589.JPG

Writer Don ID2

ส่วนที่ 5 ข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อการสืบค้น

งานบทความที่เกี่ยวข้อง

ส่วนที่ 2 กลไก และกระบวนการสร้างเสริมสุขภาวะในประเด็นกิจกรรมทางกายที่เกี่ยวเนื่องกับกรอบแนวคิดหลัก สสส. และสอดคล้องกับปัจจัยกำหนดสุขภาพ

Admin nicky

โครงสร้างข้อมูลความรู้ประเด็นกิจกรรมทางกาย เพื่อการนำเสนอในระบบบริหารจัดการความรู้แบบมีส่วนร่วม ได้จากการศึกษาทบทวน สกัดและสังเคราะห์เนื้อหาจากรายงานการทบทวนองค์ความรู้สุขภาวะการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย เพื่อสนับสนุนการสื่อสารและขยายผล ตามกรอบแนวคิดการสังเคราะห์องค์ความรู้ประเด็นกิจกรรมทางกาย จะได้ผังโครงสร้างข้อมูลความรู้ประเด็นกิจกรรมทางกาย เพื่อการนำเสนอในระบบบริหารจัดการความรู้แบบมีส่วนร่วม ประกอบด้วย 5 ส่วน ซึ่งในแต่ละส่วนจะประกอบด้วย หัวข้อหลัก หัวข้อรอง หัวข้อย่อยและสาระสำคัญ เพื่อเป็นข้อมูล/องค์ความรู้ที่สังเคราะห์เข้าสู่ระบบบริหารจัดการความรู้แบบมีส่วนร่วม มีดังนี้

ส่วนที่ 1 สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นกิจกรรมทางกาย และเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ มาตรการขับเคลื่อนงานของ สสส. และภาคี ซึ่งมีสาระสำคัญประกอบด้วย 4 หัวข้อหลัก 11 หัวข้อรอง และ 4 หัวข้อย่อย

ส่วนที่ 2 กลไก และกระบวนการสร้างเสริมสุขภาวะในประเด็นกิจกรรมทางกายที่เกี่ยวเนื่องกับกรอบแนวคิดหลัก สสส. และสอดคล้องกับปัจจัยกำหนดสุขภาพ ซึ่งมีสาระสำคัญประกอบด้วย  5 หัวข้อหลัก  10 หัวข้อรอง 9 หัวข้อย่อย

ส่วนที่ 3บริบท เครื่องมือ สื่อ ปัจจัยเอื้อ นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาวะในประเด็นกิจกรรมทางกายที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ซึ่งมีสาระสำคัญประกอบด้วย  5 หัวข้อหลัก  14 หัวข้อรอง 35 หัวข้อย่อย

ส่วนที่ 4บทสังเคราะห์เพื่อการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมกิจกรรมทางกาย ซึ่งมีสาระสำคัญประกอบด้วย  4 หัวข้อหลัก  4 หัวข้อรอง

ส่วนที่ 5ข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อการสืบค้น ซึ่งมีสาระสำคัญประกอบด้วย หัวข้อหลัก 9 หัวข้อรอง